วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

Main

      เนื่องจากในปัจจุบันมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายรูปแบบ  ซึ่งในแต่ละรูปแบบจะมีข้อดี และ ข้อด้อยแตกต่างกันไป บ้างก็สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ทุกเนื้อหาสาระแต่ยังไม่สามารถ นำไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน โดยส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้โดยการท่องจำ เพียงเพื่อนำไปใช้สำหรับการสอบแข่งขันเท่านั้น ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพด้านความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดระบบข้อมูลของผู้เรียนเอง อาทิเช่น การวิเคราะห์และให้เหตุผลต่อข้อมูลหรือการอภิปรายร่วมกับผู้อื่น ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนได้มีรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายวิธีเพิ่มมากขึ้น เกิดทักษะและคุณลักษณะของผู้จัดกระทำชุดความรู้ได้ด้วยตนเอง   จึงถือเป็นโอกาสดีที่จะได้จัดกระบวนการเรียนรู้แบบ เปิดหนังสือ (Open book ) ควบคู่กับการเรียนรู้แบบบูรณาการ (PBL)  เพื่อความเข้าใจในกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ และการนำไปปรับใช้ได้โดยแท้จริง

เป้าหมายความเข้าใจ (Understanding Goals)  
ความรู้ : เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการจัดการชุดข้อมูลต่างๆและวิธีการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ทักษะ : การแสวงข้อมูล /การคิด / จัดการข้อมูล / การนำเสนอ 
คุณลักษณะ : มีเป้าหมายในการเรียนรู้ / แรงบันดาลใจ / เอื้อเฟื้อข้อมูล 

คำถามหลัก (ฺBig questions)  : ทำไมจึงต้องมีการจัดการความรู้ทั้งชุด ?
                                               -   เราจะจัดการชุดข้อมูลได้อย่างไร ?




  ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.2
2.1
2.2
5.1
8.1
วิทยาศาสตร์
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
-โรคทางพันธุกรรม
หน่วยพันธุกรรม(DNA,RNA)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรม  หรือยีนในนิวเคลียส(ม.3/1)
 - อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(ม.3/2)
อภิปรายโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์(ม.3/3)
สำรวจและอธิบายความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ในท้องถิ่น
ที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ม.3/4)

อธิบายผลของความ
หลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์ สัตว์  พืช และสิ่งแวดล้อม (ม.3/5)
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ ในท้องถิ่นและอธิบาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ  (ม.3/1)
อธิบาย วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรคาร์บอน และความสำคัญที่มีต่อระบบนิเวศ(ม.3/2)
อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร  ในระบบนิเวศ
(ม.3/3)
วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
(ม.3/4)
วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม  ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น และเสนอแนวทางในการ แก้ไขปัญหา (ม.3/1)
วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ  ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(ม.3/2)
อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อม และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา(ม.3/3)
อภิปรายและมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ม.3/4)
อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
 (ม.3/5)
 อภิปรายการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(ม.3/6)
อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ม.3/1)
ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้
(ม.3/1)
สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี(ม.3/2)
เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบ
ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
(ม.3/3)
รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ(ม.3/4)
วิเคราะห์และประเมิน ความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบ(ม.3/5)
สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ  ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ(ม.3/6)
สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้  ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ(ม.3/7)
อธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ   ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ  เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม (ม.3/8)
จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิกระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ( ม.3/9)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
4.1
4.2
5.1
8.1
วิทยาศาสตร์
กฎของนิวตัน (การเคลื่อนที่ในแนวต่างๆ)
แรงลัพธ์
แรงเสียดทาน
แรงพยุง
 - อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ( ม.3/1)
ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา   ระหว่างวัตถุ  และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
( ม.3/2)
 - ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ ( ม.3/3)
ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ม.3/1)
 - ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
 ( ม.3/2)
 -  สังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็น    แนวตรง และแนวโค้ง ( ม.3/3)
อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ( ม.3/1)
ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ  ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้( ม.3/1)
สร้างสมมติฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ( ม.3/2)
เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ( ม.3/3)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
2.2
3.1
3.2
4.1
4.3
    สังคมศึกษา
ระบบการปกครอง
หน้าที่พลเมือง
-  อธิบายระบอบ การปกครอง แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน    ( ม.3/1)
วิเคราะห์เปรียบเทียบระบอบ การปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ  
 ที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย (ม.3/2)
วิเคราะห์รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ ( ม.3/3)
วิเคราะห์ประเด็นปัญหา   ที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข 
( ม.3/4)

อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ( ม.3/1)
มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น
 (ม.3/2)
อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ
(ม.3/1)
แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อบุคคล กลุ่มคนและประเทศชาติ (ม.3/2)
อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (  ม.3/3)
-  อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด( ม.3/4)
วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา
(ม.3/5)
วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ( ม.3/6)
    ประวัติศาสตร์
ยุคสมัยและวิธีทางประวัติศาสตร์
ภูมิศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย
เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ที่สำคัญของประเทศไทยในสมันกรุงรัตนโกสินทร์
ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ม.3/1)
วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (  ม.3/2)
เห็นความสำคัญของการตีความ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ที่น่าเชื่อถือ (  ม.3/3)
-  วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์  ในด้านต่างๆ  (  ม.3/1)
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(ม.3/2)
วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพล   ต่อการพัฒนาชาติไทย (ม.3/3)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
2.1
3.1
3.2
4.1
สุขศึกษาและพลศึกษา
การส่งเสริมสุขภาพ
อิทธิพลความคาดหวังต่อสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง
สื่อโฆษณา
การวางแผนการดำเนินชีวิต
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์  สังคม
  และสติปัญญา  แต่ละช่วงของชีวิต( ม.3/1)
วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น (ม.3/2)
-วิเคราะห์ สื่อ  โฆษณา  ที่มีอิทธิพล ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น  ( ม.3/3)
อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม( ม.3/1)
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ ( ม.3/2)
วิเคราะห์สาเหตุ  และเสนอแนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว ( ม.3/3)
การเล่นเกมและกีฬาที่ถูกต้องตามกฎกติกา
วางแผนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ

เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล  ได้อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม (ม.3/1)
-นำหลักการ  ความรู้และทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย  การเล่นเกม     และการเล่นกีฬาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  เป็นระบบ (ม.3/2)
-ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1กิจกรรม  และนำหลักความรู้วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับผู้อื่น
( ม.3/3)
มีมารยาทในการเล่นและดูกีฬาด้วยความมีน้ำใจนักกีฬา ( ม.3/1)
ออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและนำแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนด้วยความภาคภูมิใจ ( ม.3/2)
ปฏิบัติตนตามกฎ  กติกา  และข้อตกลง  ในการเล่นตามชนิดกีฬาที่เลือกและนำแนวคิด ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคมจำแนกกลวิธีการรุก  (ม.3/3)
 - การป้องกัน  และใช้ในการเล่นกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ตามสถานการณ์  ของการเล่น (ม.3/4)
เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาเป็นประจำ (ม.3/5)
วางแผนและจัดเวลา ในการ ออกกำลังกาย  การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพ    ทางกาย
(ม.3/1)
-  ทดสอบสมรรถภาพทางกาย  และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ( ม.3/2)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
1.2
2.1
3.1
3.2
ศิลปศึกษา
ทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
ดนตรี
นาฏศิลป์

 - บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (ม.3/1)
ระบุ และบรรยายเทคนิค  วิธีการของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์( ม.3/2)
-. วิเคราะห์ และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงาน   ทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ (ม.3/3)
มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓  ประเภท (ม.3/4)
มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ ( ม.3/5)
สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ ( ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ (ม.3/7)
-  วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน (ม.3/8)
-สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย     เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย
( ม.3/9)
ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์( ม.3/1)
ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล
( ม.3/2)

เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น  (ม.3/1)
ร้องเพลง  เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพสียง
(ม.3/2)
แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ( ม.3/3)
อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง(ม.3/4)
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น  
( ม.3/5)                
อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม (ม.3/6)
-นำเสนอ หรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม โดยการ บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ
( ม.3/7)

ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร( .3/1)
-ใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิต ประจำวันและในการแสดง (ม.3/2)
มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง(ม.3/3)
มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง(ม.3/4)
วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ( .3/5)
ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ
(ม.3/6)
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนำไป
ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ( .3/7)
ออกแบบ และสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และการละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
( ม.3/1)
อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจำวัน (ม.3/2)
แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ ( ม.3/3)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
1.1
3.1
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ขั้นตอนการสร้าชิ้นงาน
อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ (ม.3/1)
ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม ( ม.3/2)
อภิปรายการทำงานโดยใช้ทักษะ การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ( ม.3/3)
-ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำใน ( ม.3/1)
ชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ( ม.3/2)

สาระการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
จุดเน้นที่๑
ความเป็นไทย
จุดเน้นที่๒
รักชาติยึดมั่นในศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

จุดเน้นที่๓
ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จุดเน้นที่๔
ความปรองดองสมานฉันท์

จุดเน้นที่๕
ความมีวินัยในตนเอง

หน้าที่พลเมือง
- มีส่วนร่วมแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์และยกย่องผู้มีมารยาทไทย  (1.1,.3 /1)
- แสดงออกแนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ 
(1.1.3 /2)
- เห็นคุณค่าอนุรักษ์สืบสานและประยุกต์ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย(1.2.3 /3)
ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาทหลักการทรงงานและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(ม.3 /5)


ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
(3.1,.3 /6)

- เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1,.3 /8)
- มีส่วนร่วมและเสนอแนวทาง
การป้องกันปัญหาความขัดแย้ง
(4.2,.3 /9)


ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง(ม.3 /10)